ชื่อโครงการ
การพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมจังหวัดสุรินทร์ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
หัวหน้าโครงการ
ดร. ภรณี หลาวทอง
หน่วยงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
การรักษาและการสร้างศักยภาพของภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยรูปแบบการผลิตผ้าไหมทอมือด้วยการนำนวัตกรรมมาใช้เพื่อเพิ่มกำลังผลผลิต แต่ยังคงภูมิปัญญาดั้งเดิมไว้ เป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็กนักเรียน นักศึกษาในพื้นที่ตนเองและพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อสืบสานภูมิปัญญาการผลิตผ้าไหมทอมือไม่ให้สูญหายไปจากชุมชน รวมทั้งการสร้างเครือข่ายและความร่วมมือ เพื่อเชื่อมโยงความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และกิจกรรมเชิงพาณิชย์ระหว่างชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จะสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้
Project Leader Image
นาง นิตย์ เสนาะเสียง
- เป็นผู้นำชุมชนที่ทำหน้าที่สร้างแรงจูงใจให้ชุมชนเกิดการยอมรับ - การปรับใช้เทคโนโลยี การถ่ายทอดความรู้ และเทคโนโลยีให้กับชุมชนเพื่อใช้พัฒนาอาชีพ - พัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของชุมชน - การค้นหาและสร้างความรู้ เทคโนโลยี เพื่อใช้พัฒนาอาชีพของตนและชุมชน และการขยายผลความรู้และเทคโนโลยีสู่ชุมชนอื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง - การสร้างคนรุ่นใหม่เพื่อสืบทอดอาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหม (เริ่มต้นที่ลูกของตนเอง)
นวัตกรรมพร้อมใช้/เทคโนโลยีที่เหมาะสม ที่นวัตกรใช้งานในพื้นที่

เมื่อเริ่มโครงการวิจัย
กระบวนการพัฒนา

ประสานงานเข้าชี้แจงวัตถุประสงค์ ให้ความช่วยเหลือในการประสานงานไปยังหน่วยงานต่างๆ
1. การคัดเลือกนวัตกรชุมชน ซึ่งควรมีลักษณะที่เป็น “ผู้นำ” ที่เป็น “ผู้ทำ” และเป็น “ตัวอย่าง” ให้กับชุมชน 2. การปลูกฝังค่านิยมการพึ่งพาตนเองให้เกิดขึ้นผ่านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ควบคู่กับการให้ความสำคัญกับความรู้ 3. การสร้างความตระหนักให้สมาชิกในชุมชนเข้าใจปัญหาของตัวเองด้วยตัวเอง เพื่อให้เกิดความพยายามแก้ไขปัญหา (พึ่งพาตนเอง) 4. การสร้างความตระหนักต่อการมีอยู่อย่างจำกัดของสิ่งที่ชุมชนเผชิญอยู่ เพื่อให้เกิดความพยายามแก้ไขปัญหาของตนและชุมชน

จัดทำคู่มือในการใช้งานเทคโนโลยี จัดการอบรมฝึกสอนการใช้งาน สร้างพื้นที่ประสานงาน เพื่อติดตามเป็นระยะ
1. การคัดเลือกนวัตกรชุมชน ซึ่งควรมีลักษณะที่เป็น “ผู้นำ” ที่เป็น “ผู้ทำ” และเป็น “ตัวอย่าง” ให้กับชุมชน 2. การส่งเสริมความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมการทำงานร่วมกันของนวัตกรชุมชน เกิดความตระหนักและความร่วมมือจากคนส่วนมากในชุมชนและหน่วยงานภายนอก 3. การแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดี ซึ่งมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) คน เป็นแหล่งศูนย์รวมของความรู้ที่สมควรนำมาแบ่งปัน 2) สถานที่และบรรยากาศ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีชีวิตชีวาและน่าสนใจ และ 3) สิ่งอำนวยความสะดวก เป

สร้างพื้นที่การเรียนรู็ แชร์ความรู้ และประสบการณ์ร่วมกัน จัดทำคู่มือและจัดการอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความมั่นใจ
1. การคัดเลือกนวัตกรชุมชน ซึ่งควรมีลักษณะที่เป็น “ผู้นำ” ที่เป็น “ผู้ทำ” และเป็น “ตัวอย่าง” ให้กับชุมชน 2. การสร้างพื้นที่เรียนรู้ เพื่อเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ระหว่างนวัตกรและชุมชน 3. การสร้างกระบวนการทำงาน เพื่อช่วยถ่ายทอดความรู้และความสามารถให้กับนวัตกรและชุมชนในระยะยาว บนพื้นฐานของการสร้างความศรัทธา ซึ่งจะช่วยผลักดันให้เกิดความพยายามของการเปลี่ยนแปลง

ณ ปัจจุบัน
คุณลักษณะเด่น
1) มีการปลูกฝังค่านิยมการพึ่งพาตนเองให้เกิดขึ้นผ่านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของสมาชิกควบคู่กับการให้ความสำคัญกับความรู้ และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2) มักจะผลักดันให้สมาชิกในชุมชนหรือนอกชุมชน เข้าใจปัญหาของตนด้วยตัวเอง เพื่อให้เกิดความพยายามแก้ไขปัญหา ด้วยการหาความรู้ และเทคโนโลยีมาช่วย
3) การสร้างความตระหนักต่อการมีอยู่อย่างจำกัดของสิ่งที่ชุมชนเผชิญอยู่ เพื่อให้เกิดความพยายามแก้ไขปัญหาของตนและชุมชน
4) สร้างคนรุ่นใหม่เพื่อสืบทอดอาชีพหม่อนไหม (เริ่มต้นที่ลูกของตนเอง)

จำนวนผู้เข้าชม: 56