ชื่อโครงการ
นวัตกรรมกระบวนการมีส่วนร่วมการสร้างห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูงได้มาตรฐานในชุมชนนวัตกรรมจังหวัดลำปางและจังหวัดตาก
หัวหน้าโครงการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สันติ ช่างเจรจา
หน่วยงาน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
กระบวนการส่งเสริมการเกษตรที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องอยู่บนฐานการมีส่วนร่วม (คน-ของ-องค์กร) ยกระดับอัตลักษ์สินค้าเกษตรตามวิถีชุมชนด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน
Project Leader Image
นาย อนุชิต ศรีฉัตรใจ
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
นวัตกรรมพร้อมใช้/เทคโนโลยีที่เหมาะสม ที่นวัตกรใช้งานในพื้นที่

ปุ๋ยหมักมูลแพะผสมไตรโคเดอร์มา

เมื่อเริ่มโครงการวิจัย
กระบวนการพัฒนา

1. สามารถประสานงานภาคี-คน ในและนอกพื้นที่ (ตำบล) และเกิดความร่วมมือที่เป็นรูปธรรม ระดมทรัพยากร (คน เงิน วัตถุดิบ facilities) ในและนอกพื้นที่
กระบวนการส่งเสริมการเกษตรที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องอยู่บนฐานการมีส่วนร่วม (คน-ของ-องค์กร) ยกระดับอัตลักษ์สินค้าเกษตรตามวิถีชุมชนด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน

2. ค้นหาความรู้ เทคโนโลยี และสร้างสรรค์ใหม่ได้
ขยายผลการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและการประยุกต์ใช้ได้อย่างหลากหลาย บูรณาการร่วมกับแผนพัฒนาของอบต. ร่วมกับเครือข่ายภาครัฐ

3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็น Learning Facilitator
ต่อยอดชุมชนนวัตกรรมเชื่อมโยงสู่แนวทางการพัฒนาของกรมส่งเสริมการเกษตรเชิงนโยบายในระดับแผนพัฒนาของกรมฯ การขับเคลื่อนงานวิจัยของสำนักงานภาค 6 และแนวทางการยกระดับนวัตกรนักส่งเสริมการเกษตรจังหวัดลำปาง

ณ ปัจจุบัน
คุณลักษณะเด่น
บูรณาการหน่วยงาน เชื่อมโยงกิจกรรม/กระบวนการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อขยายผลส่งเสริมการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมบนฐานชุมชนนวัตกรรม

จำนวนผู้เข้าชม: 67