กระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกองจากวัสดุเหลือใช้จากอ้อยด้วยชุดเติมอากาศพลังงานแสงอาทิตย์

ประเภทของนวัตกรรม/เทคโนโลยีพร้อมใช้ที่เหมาะสม

กระบวนการ (Process)

กลุ่มของนวัตกรรม/เทคโนโลยีพร้อมใช้ที่เหมาะสม

การเกษตร/อุปกรณ์ทางการเกษตร

อ้างอิงนวัตกรรม

-

องค์ความรู้/เทคโนโลยี

การทำปุ๋ยหมักจากเศษอ้อยสับร่วมกับมูลวัว อัตราส่วน 1:1.3 โดยน้ำหนักและใช้การเติมอากาศเพื่อช่วยย่อย กระบวนการย่อยสลายของจุลินทรีย์ ทำการหมักเป็นระยะเวลา 45 วัน คุณภาพปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้ คือ ความเป็นกรดด่าง 7.1 ค่าการนำไฟฟ้า 4.5 dS/m ความชื้น 48.5% ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด 1.2% ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด 1.5% ปริมาณโพแทสเซียมทั้งหมด 2.8% อินทรียวัตถุ 45.5% อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน 20.0/1

อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับนวัตกรรม/เทคโนโลยีพร้อมใช้ที่เหมาะสม

เป็นกระบวนทำปุ๋ยวอินทรีย์ภายในแปลงอ้อยเพื่อนำกลับเข้าไปใช้บำรุงอ้อยในรุ่นถัดไปช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมี

จุดเด่น

ค่าวิเคราะห์ของปริมาณของคาร์บอนและไนโตรเจนของปุ๋ยอินทรีย์จากเศษอ้อย
ปริมาณอินทรียวัตถุ (%) 41.5
ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (%) 1.1
ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด (%) 1.7
ปริมาณโพแทสเซียมทั้งหมด (%) 2.6
อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน 20.0/1
ค่าความเป็นกรดด่าง (1:10) 7.3
ค่าการนำไฟฟ้า (dS/m) 4.8
ความชื้น (%) 47.1

เงื่อนไขการใช้เทคโนโลยี

ต้นทุนการใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยีพร้อมใช้

800.00 บาท

รายการพื้นที่ของนวัตกรรมพร้อมใช้ / เทคโนโลยีที่เหมาะสม

สถานที่ พื้นที่

ระดับความพร้อมของนวัตกรรม/เทคโนโลยีพร้อมใช้ที่เหมาะสม

เริ่มต้น
4
ณ สิ้นสุดโครงการ
7

ระดับความพร้อมของสังคม/ชุมชน

เริ่มต้น
3
ณ สิ้นสุดโครงการ
5

รูปแบบทรัพย์สินทางปัญญา

-

เลขที่คำขอ

-

เลขที่ทรัพย์สินทางปัญญา

-

ผู้เกี่ยวข้องกับสิทธิบัตร

สิทธิ์ ชื่อ-นามสกุล หน่วยงาน เบอร์โทร

ข้อถือสิทธิ์

-

เอกสาร

  • ไม่มีเอกสาร

วีดีโอ

  • ไม่มีลิงค์วีดีโอ

รูปภาพ

จำนวนผู้เข้าชม: 56